เมื่อมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้คือสารใหม่ที่เกิดขึ้นเป็นผลิตภัณฑ์ นักเรียนคิดว่ามีวิธีการใดบ้างที่จะบอกว่าปฏิกิริยาเกิดขึ้นเร็วหรือช้าเพียงใด
ลองเปรียบเทียบการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมีกับการเคลื่อนที่ของรถยนต์ พบว่าระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่ได้จะขึ้นอยู่กับเวลา โดยเวลาที่เพิ่มขึ้นจะทำให้รถยนต์เคลื่อนที่ได้ระยะทางมากขึ้น การบอกให้ทราบว่ารถยนต์เคลื่อนทีได้ช้าหรือเร็วเพียงใด จึงแสดงเป็นระยะทางต่อเวลาในรูปของอัตราเร็วของรถยนต์ โดยใช้ความสัมพันธ์ดังนี้
แต่ในความเป็นจริงอัตราเร็วของรถยนต์จะไม่คงที่ตลอดเวลาเพราะว่าถนนมีสภาพต่างกัน บางช่วงอาจจะเคลื่อมที่ไปได้เร็ว บางช่วงอางเคลื่อนที่ได้ช้า จึงนิยมบอกในรูปของอัตราเฉี่ยรถยนต์ ดั้งนี้
ในทำนองเดียวกันเมื่อปฏิกืริยาเกิดขึ้น ปริมาณของสารในระบบจะมีการเปลี่ยนแปลง กว่าวคือสารตั้งต้นมีปริมาณลดลง และในเวลาเดียวกันก็มีผลิตภัณฑ์เกิดขึ้นการวัดปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น หรือวัดปริมาณสารตั้งต้นที่ทดลองอาจทำได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับลักษณะและสมบัติของสาร เช่น ชั่งมวลสารเป็นของแข็ง วัดปริมาตรเมื่อสารเป็นแก๊ส วัดความเข้มข้นเมื่อเป็นสารละลาย ส่วนเวลาวัดเป็นวินาที นาที ชั่วโมง หรือวัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยาว่าเกิดขึ้นได้เร็วหรือช้าเพียงใด การวัดปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมีที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาศึกษาได้จากการทดลองต่อไปนี้
การทดลอง 6.1 ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก
1. ใส่สารละลายกรดไฮโดรคลอริก

ในกระบอกตวงขนาด

จนเต็ม
2. นำจุกคอร์กขนาดพอดีกับปากกระบอกตวงมาบากด้านข้างตามแนวยาวให้เป็นร่องเล็ก ๆ เพื่อให้ของเหลวไหลออกมาได้ และกรีดกลางจุกคอร์กให้เป็นแนวเล็ก ๆ สำหรับเสียบ ลวดแมกนีเซียม
3. นำลวดแมกนีเซียมที่ขัดสะอาดแล้วยาวประมาณ 10 cm มาขดให้คล้ายสปริงและเสียบที่จุกคอร์กตรงรอยกรีด แล้วนำมาปิดปากกระบอกตวง
1. คว่ำกระบอกตวงลงในบีกเกอร์ขนาด

ซึ่งใส่น้ำไว้ประมาณ

จับเวลาเมื่อของเหลวในกระบอกตวงอยู่ที่ขีดแรก และทุกระยะที่ของเหลวลดลง
จนถึงขีดก่อนที่ลวดแมกนีเซียมจะโผล่พ้นสารละลาย บันทึกผลการทดลอง
รูป 6.1 อุปกรณ์ศึกษาปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียม กับกรดไฮโดรคลอริก
จากการทดลองพบว่า ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกมีแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น
เป็นผลิตภัณฑ์ สมการแสดงปฏิกิริยาเขียนได้ดังนี้เป็นผลิตภัรฑ์
การทดลองนี้สามารถวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นโดยตรง และพบว่าการเก็บแก๊สในแต่ละ 1ลูกบากศก์เซนติเมตรใช้เมวลาไม่เท่ากัน
ใช้เวลาไม่เท่ากัน โดยในช่วงแรกใช้เวลาน้อยและต่อมาใช้เวลามากขึ้น
ตามลำดับ แสดงว่าปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกตอนเริ่มต้นเกิดขึ้นได้เร็วและช้าลงเมื่อเวลาผ่านไป ปฏิกิริยานี้นอกจากจะวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นแล้ว ยังสามารถวัดมวลของโลหะแมกนีเซียมและความเข้มข้นของกรดไฮโดรคลอริกที่ลดลง หรือวัดความเข้มข้นของแมกนีเซียมไอออนที่เกิดขึ้นก็ได้ แต่ในทางปฏิบัติการวัดมวลผลหรือความเข้มข้นของสารโดยตรงทำอยาก โดยทั่วไปจึงเลือกวัดปริมาณของสารในปฏิกิริยาด้วยวิธีที่สะดวกที่สุด ซึ่งในการทดลองนี้คือการวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น ส่วนการที่จะบอกว่าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นช้าหรือเร็วเพียงใดอาจพิจารณาจาก
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยวัดปริมาณของสารตั้งต้นหรือผลิตภัณฑ์ที่เปลี่ยนแปลงขณะปฏิกิริยาดำเนินไปในหนึ่งหน่วยเวลา แสดงดังนี้
สำหรับปฏิกิริยาเคมีใด ๆ เช่น สาร A ทำปฏิกิริยากับ สาร B เกิดเป็นสาร C ซึ่งเขียนสมการแสดงได้ดังนี้

ขณะที่ปฏิกิริยาดำเนินไป สาร A และ สาร B จะถูกใช้ไป มีผลทำให้ความเข้มข้นของสารสาร A และ สาร B ซึ่งเป็นสารตั้งต้นลดลงส่วยความเข้มข้นของสาร Cซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์จะเพื่มขึ้นการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเพื่อให้ทราบว่าปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นช้าหรือเร็วเพียงใด มีรายละเอียดดังนี้
ถ้าจะหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร A สามารถทำได้โดย
วัดความเข้มข้นของสาร A เมื่อตอนเริ่มต้นปฏิกิริยา สมมติว่าเป็น

ณ เวลา

เมื่อปฏิกิริยาดำเนินต่อไประยะเวลาหนึ่งวัดความเข้มของสาร A อีกครั้ง สมมติว่าได้เป็น

ที่เป็นวาลา

ดังนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร A มีความสัมพันธ์ดังนี้
(2).jpg)
=
=
เมื่อ

แทนการเปลี่ยนแปลง

แทนระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลง มีหน่วยเป็นวินาที
![\displaystyle\left[{}\right] \displaystyle\left[{}\right]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/7f8/ef6/bc6/bc6fb0e28da2dfd2347565174d86152c.png)
แทนความเข้นข้นของสาร มีหน่วยเป็นโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตรหรือโมลต่อลิตร
ขณะที่ปฏิกิริยาดำเนินไป ความเข้มข้นของสารตั้งต้นในที่นี้คือสาร A จะลดลง นั่นคือ

จะมีค่าน้อยกว่า

เสมอ ดังนั่น
![\displaystyle\Delta\left[A\right] \displaystyle\Delta\left[A\right]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/e27/575/02a/02abdc7fef5dbe5ddbe1c22c23346c3b.png)
ซึ่งเป็นความเข้มข้นของสาร A ที่เปลี่ยนแปลงไปจึงมีค่าเป็น(-)
ถ้าจะหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ ในที่นี้คือสาร C พบว่าเมื่อปฏิกิริยาดำเนินไป ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้นนั่นคือถ้าให้

เป็นความเข้มข้นเรื่มต้นที่เวลา


เป็นความเข้มข้นเมื่อเวลาผ่านไปเป็น

แต่

จะมีค่ามากกว่า

เสมอ ดั้งนั้นความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลงไปของผลิตภัณฑ์คือ
![\displaystyle\Delta\left[A\right] \displaystyle\Delta\left[A\right]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/24f/cf7/965/314/965/24f/02a/02abdc7fef5dbe5ddbe1c22c23346c3b.png)
จะมีค่าเป็น (+) อัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร C เขียนแสดงได้ดั้งนี้
อัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร
วัดความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ที่เปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ได้ผลดังตาราง 6.1
ตาราง 6.1 แสดงความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ ณ เวลาต่าง ๆ ที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียล
ของปฏิกิริยา
เวลา (s) |
ความเข้มข้น (mol/dm3) |
 |
NO 2
|
O2
|
0
100
200
300
400
500
600 |
0.0200
0.0169
0.0142
0.0120
0.0101
0.0086
0.0072 |
0.0000
0.0063
0.0115
0.0160
0.0197
0.0229
0.0256 |
0.0000
0.0016
0.0029
0.0040
0.0049
0.0057
0.0064 |
- ในช่วงเวลา 0 - 100 และ 500 - 600 วินาที อัตราการสลายตัวเลขของแก๊ส

มีค่าเท่าใด และสรุปได้ว่าอย่างไร
- ในช่วงเวลา 0 - 100 และ 500 - 600 วินาที อัตราการเกิดแก๊ส

มีค่าเท่าใด และสรุป ได้ว่าอย่างไร
ขณะที่ปฏิกิริยาการสลายตัวของแก๊ส

ดำเนินไปความเข้มข้นของแก๊ส
จะลดลง ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของแก๊ส

ที่เปลี่ยนแปลงไปกับเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงเขียนแสดงได้ดังนี้
อัตราการสลายตัวของแก๊ส

=
![\displaystyle-\frac{{\Delta [N_2 O_5 ]}}{{\Delta t}} \displaystyle-\frac{{\Delta [N_2 O_5 ]}}{{\Delta t}}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/3e8/d93/d93fb0c178d36b0654f7deff079ded38.png)
จากข้อมูลในตาราง 6.1 สามารถคำนวณอัตราการสลายตัวของแก๊ส

ในช่วงเวลา 0 - 100 และ 500 - 600 วินาที ได้ดังนี้
ที่ช่วงเวลา 0 - 100 วินาที
อัตราการสลายตัวของแก๊ส

=
![\displaystyle\[ - \frac{{\left[ {N_2 O_5 }\right]t_{100}-\left[{N_2 O_5 }\right]t_0 }}{{t_{100}-t_0}} \displaystyle\[ - \frac{{\left[ {N_2 O_5 }\right]t_{100}-\left[{N_2 O_5 }\right]t_0 }}{{t_{100}-t_0}}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/3e8/c12/c12c9f3c11572b5ee85af92c19f6500a.png)
=

=

=

=
ที่ช่วงเวลา 500 - 600 วินาที
อัตราการสลายตัวของแก๊ส

=
![\displaystyle-\frac{{\left[{N_2O_5}\right]t_{600}-\left[{N_2O_5}\right]t_{500} }}{{t_{600}-t_{500}}} \displaystyle-\frac{{\left[{N_2O_5}\right]t_{600}-\left[{N_2O_5}\right]t_{500} }}{{t_{600}-t_{500}}}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/3e8/14e/14e97c43343b1d7fcb62d1992993fde4.png)
=

=

=

=
ผลการคำนวณซึ่งได้อัตราการสลายตัวของแก๊ส
ในช่วงเวลา 0-100 วินาที เท่ากับ
และในช่วงเวลา 500-600 วินาที เท่ากับ
แปลความหมายได้ว่า เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยา การสลายตัว
ของแก๊ส

เกิดขึ้นเร็ว เมื่อปฏิกิริยาดำเนินต่อไปจนถึงช่วงเวลา 500-600 วินาที การสลายตัวเกิดขึ้นได้ช้าลงกว่าในช่วงแรก
ถ้พิจารณาจากสารที่เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ เมื่อปฏิกิริยาดำเนินไปความเข้มข้นของแก๊ส

และ

ที่สัมพันธ์ระหว่าความเข้มข้นของแก๊ส

และ

ที่เปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลาที่กำหนดให้จึงเขียนแสดงได้ดังนี้
อัตราการเกิดแก๊ส
อัตราการเกิดแก๊ส
![\displaystyleO_2=\frac{{\Delta \left[{O_2 }\right]}}{{\Delta t}} \displaystyleO_2=\frac{{\Delta \left[{O_2 }\right]}}{{\Delta t}}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/0dc/4a5/4a52383469f2797fa0356c73265488fb.png)
จากข้อมูลในตาราง 6.1 สามารถคำนวณหาอัตราการเกิดแก๊ส

ในช่วงเวลา 0 - 100 วินที 500 - 600 วินาที ได้ดังนี้
ที่ช่วงเวลา 0 - 100 วินาที
อัตราการเกิดแก๊ส
= ![\displaystyle\frac{{\left[ {NO_2 }\right]t_{100}-\left[{NO_2 }\right]t_0}}{{t_{100}-t_0}} \displaystyle\frac{{\left[ {NO_2 }\right]t_{100}-\left[{NO_2 }\right]t_0}}{{t_{100}-t_0}}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/bd2/fb7/fb7c544bb72bfe56c5975f5075f54db2.png)
= 
= 
=
ที่ช่วงเวลา 500 - 600 วินาที
อัตราการเกิดแก๊ส

=
=
=
=
จากการคำนวณซึ่งได้อัตราการเกิดแก๊ส

ในช่วงเวลา 0 - 100 วินาที่ เท่ากับ

และในช่วงเวลา 500 - 600 วินาที่ เท่ากับ

แสดงว่าอัตราการเกิดผลิตภัณฑ์คือแก๊ส

เกิดขึ้นเร็วในช่วงแรกของการทำปฏิกิริยา และจะช้าลงเมื่อปฎิกิริยาดำเนินไปเป็นเวลานานมากขึ้น
อัตราการสลายตัวของแก๊ส

มีค่าไม่คงที่และอัตราการเกิดแก๊ส

และ

ในแต่ละช่วงเวลาก็มีค่าไม่เท่ากัน โดยที่การลดลงของความเข้มขันของแก๊ส

ต่อ 1 หน่วยเวลาในช่วงแรกจะมีค่าสูงและจะลดลงเรื่อย ๆ ในช่วงเวลาต่อมาแสดงว่าอัตราการสลายตัวของแก๊ส

เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยาเกิดขึ้นเร็วและจะช้าลงเมื่อเวลาผ่านไป สำหรับการเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของแก๊ส

และ

ต่อหนึ่งหน่วยเวลา ในตอนเริ่มต้นปฏิกิริยาก็มีค่าสูงและจะมีค่าลดลงในเวลาถัดไปแสดงว่าอัตราการเกิดแก๊ส

และ

เกิดขึ้นเร็วในตอนแรกและจะเกิดขึ้นช้าลงเรื่อย ๆ เมื่อเวลาผ่านไป ซึ่งเป็นแนวโน้มที่คล้ายกันกับการสลายตัวของแก๊ส

แต่มีทิศทางกลับกัน
การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ได้กล่าวมาแล้ว จัดเป็ม
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉี่ย เนื่องจากเป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารภายในช่วงเวลาที่กำหนดให้ถ้าช่วงเวลาในการเกิดปฏิกิริยาแคบมากจนถือว่า

มีค่าเป็นศูนย์ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยในช่วงเวลาหนึ่งจะกลายเป็นอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่จุดหนึ่งหรือเรียกว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง
จากข้อมูลในตาราง 6.1 เมื่อนำมาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารกับเวลา จะได้ดังรูป 6.2
รูป 6,2 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ แก๊ส

และ

กับเวลา ที่อุณหภูมิ

เมื่อแก๊ส

สลายตัวได้แก๊ส

กับ

เป็นผลิตภัณฑ์ ความเข้มข้นของแก๊ส

จะลดลงและขณะเดียวกันความเข้มข้นของแก๊ส

กับ

จะเพิ่มขึ้นเส้นกราฟของ

จึงโค้งลง ส่วนเส้นกราฟของ

กับ

จะโค้งขัน เนื่องจากความเข้มข้นของแก๊สเปลี่ยนแปลงมากในตอนเริ่มปฏิกิริยาและเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยลงเรื่อย ๆ ในช่วงเวลาถัดไป ดังนั้นเส้นกราฟในช่วงแรกจึงชันมาก และเมื่อเวลาผ่านไปนานขึ้นความชันของเส้นกราฟจึงลดลง
การอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่จุดใดจุดหนึ่งทำได้โดยลากเส้นสัมผัสผ่านจุดที่ต้องการ เช่นต้องการหาอัตราการเกิดแก๊ส

ณ วินาทีที่ 450 ทำได้โดยลากเส้นจากจุดวินาทีที่ 450 ตั้งฉากกับแกนเวลาขึ้นไปตัดเส้นกราฟที่จุด X แล้วลากเส้น AB ให้สัมผัสกับจุด X สร้างรูปสามเหลี่ยมใต้เส้นสัมผัสโดยให้สัทผัสเป็นด้านตรงมุมฉากดังรูป 6.3
รูป 6.3 แสดงอัตราการหาการเกิดแก๊ส

ณ วินาทีที่ 450
ความชันของเส้นสัมผัสที่ลากผ่านจุดดังกล่าวนี้จะบอกให้ทราบถึงอัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ณ ขณะนั้นการคำนวณค่าความชันจากกราฟแสดงการเกิดแก๊ส

ตามเวลา ณ วินาทีที่ 450 ทำได้ดังนี้
อัตราการเกิดแก๊ส

ณ วินาทีที่ 450 =
![\displaystyle\frac{{\Delta \left[ {{\rm NO}_{\rm 2} } \right]}}{{\Delta {\rm t}}} \displaystyle\frac{{\Delta \left[ {{\rm NO}_{\rm 2} } \right]}}{{\Delta {\rm t}}}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/bd2/d42/bd2/61e/61e8f5025719c91dec51f6fcf05eb4b7.png)
=

=

=
จากเรื่องปณิมาณสัมพันธ์ของสารที่ได้ศึกษาผ่านมาทำไห้ทราบว่าในปฏิกิริยาเคมีใด ๆ ปริมาณของสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์จะมีความสัมพันธ์กัน ให้นักเรียนพิจารณาปฏิกิริยาการสลายตัวของแก๊ส

ดังสมการ
จากสมการที่ดุลแล้วนี้จะพบว่าแก๊ส

2 โมล สลายตัวให้แก๊ส

4 โมล และแก๊ส

1 โมล หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า
อัตราการเกิดแก๊ส

(อัตราการเกิดแก๊ส

) =

(อัตราการสลายตัวของแก๊ส

) หรือ
นั่นคือ ปฏิกิริยาการสลายตัวของแก๊ส

ได้แก๊ส

และ

สามารถหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากสารต่าง ๆ โดยคิดจากความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่ลดลงและผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้นในสมการที่ดุลแล้วได้ดังนี้
อัตราการเกิดปฏิกิริยา * =
![\displaystyle \frac{{\Delta \left[ {O_2 } \right]}}{{\Delta t}} \displaystyle \frac{{\Delta \left[ {O_2 } \right]}}{{\Delta t}}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/283/5a9/d9e/6de/6de26d428fad5168a5a23b89b07d14cc.png)
=
![\displaystyle \frac{1}{4}\left[ {\frac{{\Delta \left[ {NO_2 } \right]}}{{\Delta t}}} \right] \displaystyle \frac{1}{4}\left[ {\frac{{\Delta \left[ {NO_2 } \right]}}{{\Delta t}}} \right]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/283/5a9/d9e/6de/9de/9ded8f02d065ef559ce699f07218eb5e.png)
=
หรืออาจกล่าวได้ว่าในสมการที่ดุลแล้ว อัตราการเกิดปฏิกิริยาของสารต่าง ๆ จะเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงปรมาณเป็นโมลของสารแต่ละชนิด หารด้วยสัมประสิทธิ์แสดงจำนวนโมลของสารนั้น ๆ
ตัวอย่างที่ 1 เชื้อเพลิงสะอาดชนิดหนึ่งที่สามารถใช้ในเครื่องยนต์ในอนาคตคือ

ก. จงเขียนความสัมพันธ์แสดงการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ

และ

กับเวลา
ข. เมื่อความเข้มข้นของ

มีอัตราการลดลงเป็น

อัตราการเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของ

จะเป็นเท่าไร
ก. อัตราการเกิดปฏิกิริยาของสารแต่ละชนิดเขียนได้ดังนี้
อัตราการเกิดปฏิกิริยา =
![\displaystyle - \frac{1}{2}\left[ {\frac{{\Delta \left[{H_2 }\right]}}{{\Delta t}}}\right] \displaystyle - \frac{1}{2}\left[ {\frac{{\Delta \left[{H_2 }\right]}}{{\Delta t}}}\right]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/dc8/aa3/4c6/d9e/627/44b/3de/3debd4c358800276d623b36cda5bbb06.png)
=
![\displaystyle-\frac{{\Delta \left[ {O_2 }\right]}}{{\Delta t}} \displaystyle-\frac{{\Delta \left[ {O_2 }\right]}}{{\Delta t}}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/dc8/aa3/4c6/d9e/627/44b/3de/ce0/ce05fb38f8e42da3e1636af54421c54f.png)
=
![\displaystyle-\frac{1}{2}\left[ {\frac{{\Delta \left[ {H_2 O} \right]}}{{\Delta t}}}\right] \displaystyle-\frac{1}{2}\left[ {\frac{{\Delta \left[ {H_2 O} \right]}}{{\Delta t}}}\right]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/dc8/aa3/4c6/d9e/627/44b/3de/ce0/a15/a159a9f6f8a3bfb451be7759606aee65.png)
ข. หาอัตราการเพิ่มขึ้นของ
![\displaystyle\left[{H_2O}\right] \displaystyle\left[{H_2O}\right]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/61b/61b164c9f16288f479eff4b7ace57e1a.png)
เมื่อทราบ
![\displaystyle\left[{O_2}\right] \displaystyle\left[{O_2}\right]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/61b/6fc/6fc26c1341588efa89103a8ed08f1989.png)
ที่ลดลง
![\displaystyle - \frac{1}{2}\left[ {\frac{{\Delta \left[ {H_2 O} \right]}}{{\Delta t}}} \right] \displaystyle - \frac{1}{2}\left[ {\frac{{\Delta \left[ {H_2 O} \right]}}{{\Delta t}}} \right]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/61b/6fc/23f/23fcd684f1cbbc0ba8e6735fc144d331.png)
=
=
=
![\displaystyle \frac{{\Delta \left[ {H_2 O} \right]}}{{\Delta t}} \displaystyle \frac{{\Delta \left[ {H_2 O} \right]}}{{\Delta t}}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/61b/6fc/23f/1dc/104/627/8f7/8f7140bdcb6abfccc65bf0b236bb9798.png)
= 2x0.23
= 0.46
อัตราการเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของ

= 0.46
.s