สถิติ
เปิดเมื่อ2/12/2015
อัพเดท17/02/2016
ผู้เข้าชม35572
แสดงหน้า46520
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   




(เข้าชม 19551 ครั้ง)
1.ในช่วงเวลา 40-60 อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเป็นเท่าใด
วิธีทำ

2.อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยมีค่าเท่าใด
วิธีทำ




3.ปฏิกิริยาใดน่าจะมีอัตรราการเกิดปฏิกิริยาสูงกว่า เพราะเหตุใด
ตอบ  รูปข. เพราะมีพลังงานก่อกัมมันต์ต่ำกว่าทำเกิดปฏิริยาได้ง่าย

4.ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือคายพลังงานทราบได้อย่างไร
ตอบ  ปฏิกิริยาแบบคายพัลงงาน เพราะผลิตภัณฑ์ต่ำกว่าสารตั้งต้น

5.เมื่อเผาผงเหล็กในอากาศจะเกิดการลุกไหม้ทันที แต่ถ้าเปาตะปูเหล็กแทนผงเหล็ก ปฏิกิริยาจะเกิดช้ามาก เป็นเพราะเหตุใด
ตอบ เพราะ ผงเหล็กมีพื้นที่ผวน้อยกว่าตะปูเหล็ก มีผลให้อนุภาคของสารมีโอกาสชนกันได้มาก ปฏิกิริยาจึงเกิดเร็ว

6.จงเขียนอัตราของปฏิกิริยาต่อไปนี้
6.1. H2(g) + I2(g)          →           2HI(g)
ตอบR = k [H2]m[I2]n
6.2  2H(g) + O2(g)        →           2H2O(g)
ตอบR = k [H2]m[O]

7. ลดปริมาตรของภาชนะลงครึ่งหนึ่ง
ตอบ  ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดเร็วขึ้น เพราะ จะมีอัตราในการชนของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น

8. เพิ่มจะนวนโมเลกุลของบรรจุแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์เป็นสองเท่า
ตอบ  ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดเร็วขึ้น  เพราะ จะมีอัตราในการชนของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น

9.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตอบ อุณหภูมิ ความเข้มข้นของสารละลาย พื้นที่ผิว  ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยา

10. B , C และ D คือสารชนิดใด
ตอบ สารเชิงซ้อนกัมมันต์

11. L , M และ P คือสารชนิดใด
ตอบ ผลิตภัณฑ์ชั่วคราว

12. เรียงลำดับความเสถียรของสาร L , M และ  N
ตอบ M , P , L


13.จากปฏิกิริยา A+B → C ที่ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ผลดังตาราง
ครั้งที่ [A] (mol/dm3) [B] (mol/dm3) อัตราการเกิดปฏิกิริยา( mol/dm3)
1 0.1 0.1 2x10-3
2 0.2 0.2 8x10-3
3 0.1 0.2 8x10-3
ให้ R = อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จงหากฎอัตราและค่า K ของปฏิกิริยานี้เป็นเท่าไร
วิธีทำ


14. ปฏิกิริยา  H2(g)  +  Cl2(g)                         2 HCl(g)  ถ้าเติมผงนิกเกิลลงไปเล็กน้อยจะทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงขึ้น  นักเรียนคิดว่าผงนิกเกิลทำหน้าที่ใด  และมีผลต่อการดำเนินไปของปฏิกิริยาอย่างไร  จงอธิบาย
ตอบ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี ไปลดพลังงานก่อกัมมันต์ ทำให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วขึ้น

15. เมื่อผสมแก๊สออกซิเจนและแก๊สไฮโดรเจนที่อุณหภูมิห้องจะไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น  แต่ถ้าผสมกันบนผิวของโลหะแพลทินัม  ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นทันที  เพราะเหตุใด
ตอบ  เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี ไปลดพลังงานก่อกัมมันต์ ทำให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วขึ้น