6.5 กฎอัตราการเกิดปฏิกิริยา
“อัตารการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เข้ามาทำปฏิกิริยา”
aA+bB → cC+dD
สมการกฎอัตรา
1.k คือ ค่าคงที่อัตราการเกิดปฏิกิริยา (k เปลี่ยนแปลงเมื่อ อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง) ปฎิกิริยาที่มี k สูงปฏิกิริยานั้นจะเกิดเร็ว
2. R คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยา
3. m,n คือ อันดับของปฏิกิริยาหรือเลขกำลังเมื่อเทียบกับสาร A และ B ตามลำดับ ค่า m และ n ไม่ได้มาจากเลขสัมประสิทธิ์จาการดุลสมการเคมี หาได้จากการทดลองเท่านั้น
4. ผลรวมของอันดับปฏิกิริยาจะเรียกว่า อันดับรวมของปฏิกิริยา
การหาอันดับของปฏิกิริยา
aA + bB → cC + dD จากปฏิกิริยา ต้องทราบการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารตั้งต้นทั้งหมดและวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาพร้อมกับบันทึก
ความเข้มข้น |
อัตราการเกิดปฏิกิริยา |
A |
B |
A1 |
คงที่ |
R1 |
A2 |
คงที่ |
R2 |
คงที่ |
B1 |
R3 |
คงที่ |
B2 |
R4 |
เมื่อ R = k[A]m[B]n
ในกรณีที่หาค่า m โดย[B]คงที่ ในกรณีหาค่า nโดย[A]คงที่

|